ที่มาของโครงงาน
โครงงานนี้เป็นความร่วมมือกับกรมชลประทานจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งต้องการอุปกรณ์ช่วยวิเคราะห์คุณสมบัติของดินที่จะใช้ในการสร้างเขื่อน ซึ่งในปัจจุบันการทดสอบใช้เวลานานและมีความผิดพลาดสูง โดยแนวคิดของอุปกรณ์นี้คือจะดัดแปลงเครื่องขูดดินของทางกรมชลประทานโดยติดตั้งเซ็นเซอร์วัดแรงสันสะเทือนเพื่อวิเคราะห์ดูว่าค่าจากเซ็นเซอร์สามารถนำไปใช้ในการบอกประเภทของดิน
หลักการ
โครงงานนี้จะใช้ดินที่ทำการอัดจนแน่น มาแล้ว หลังจากนั้น จะทำการติดตั้งเครื่องมือที่ใช้ขูดผิวของดิน โดยจะมีเซ็นเซอร์ วัดความสันสะเทือนติดอยู่ที่ปลายของอุปกรณ์ขูด ซึ่งจะมีหน้าตาเป็นแท่งเหล็ก เมื่อขูดพื้นผิวของดินไปแล้ว จะนำค่าที่ได้ มาวิเคราะห์ เพื่อหา ประเภทของดิน โดยมีความเชื่อว่า ดินแต่ละชนิดจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลออกมาได้ต่างกัน จึงสามารถนำมาแยกชนิดของดินได้
- บอร์ดที่เชื่อมต่อเข้ากับเซ็นเซอร์วัดแรงสั่นสะเทือน – บอร์ดนี้จะอ่านค่าจากเซ็นเซอร์แล้วส่งไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อทำการวิเคาระห์
- เซ็นเซอร์วัดแรงสั่นสะเทือน – จะต้องออกแบบรูปแบบการติดตั้งเพื่อให้อ่านค่าแรงสั่นสะเทือนจากการขูดดินตัวอย่างได้ดีที่สุด
วิดีโอแนะนำโปรเจค
http://www.youtube.com/watch?v=28JR-0_a330&feature=youtu.be
ตัวอย่างเครื่องขูดดิน
บล็อกไดอาแกรม
จากดินที่ทำการอัดเรียบร้อยแล้ว นำมาขูดโดยเครื่องขูดที่ทำการติดเซนเซอร์ไว้เรียบร้อยแล้ว เซซนเซอร์จะส่งค่าออกมา แล้วนำไปสร้างกราฟ ประมวลผลการทดลอง
หัวขูด เพื่อทดสอบดิน
เซนเซอร์วัดผล <Piezo sensor>
รูปแสดงการติดตั้งเซนเซอร์กับหัวขูด
กราฟแสดงผลการทดลอง
-กราฟขณะที่ยังไม่ได้ขูดพื้นผิว
Min. = 506 Max. = 514 ค่าเฉลี่ย = 511.1538 SD =
-กราฟขูดดินแบบผิวบาง(แรงกดบนหน้าดินปานน้อย)
Min. = 504 Max. = 517 ค่าเฉลี่ย = 510.3023 SD = 3.239786
-กราฟขูดดินแบบผิวปานกลาง(แรงกดบนหน้าดินปานกลาง)
Min. = 483 Max. = 522 ค่าเฉลี่ย = 511.5 SD = 7.08949
-กราฟการขูดดินแบบผิวลึก(แรงกดบนหน้าดินมาก)
Min. = 478 Max. = 526 ค่าเฉลี่ย = 513.4368 SD = 8.842634
-กราฟการขูดไม้อัด
Min. = 504 Max. = 519 ค่าเฉลี่ย = 511.3939 SD = 3.051018
-กราฟการขูดสก๊อตไบท์
Min. = 496 Max. = 518 ค่าเฉลี่ย = 510.2034 SD = 3.458022
schematic ของ pcb ที่ใช้งาน
รูปภาพ ชิ้นงาน
ภาพสมาชิก
ชนน วุฒิเดชารักษ์ 520610365
นริศภูมิ สอนแก้ว 520610404
พีรพล บุญสม 520610437